Thai ESCO ¸ØáԨºÃÔ¡ÒôéÒ¹¾Åѧ§Ò¹ (Energy Service Company: ESCO)

  • ประกาศผลการตรวจสอบรับรองมาตรฐานการดำเนินงานของ ESCO รายชื่อ ESCO ที่เข้าร่วมและผ่านการประเมินโครงการนำร่องฯ ประจำปี 2558 - 2559 และESCO ที่ได้รับใบรับรองการดำเนินงานของบริษัทจัดการพลังงานไทย (CoP Certificate)

  • Promotion of ESCO Business Project in Thailand "Overview og Energy Conservation Program of Thai Industries in the framework of ESCO" งาน "Thai-German Technology Conference Energy Efficiency industry"

  • คู่มือแนวทางการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด (M&V) แนวทางการตรวจวัดและพิสูจน์ผลประหยัด สำหรับโครงการอนุรักษ์พลังงาน 12 มาตรการ

  • Success cases of ESCO สถานประกอบการจากภาครัฐและเอกชนที่ประสบความสำเร็จจากการใช้บริการ ESCO ที่ได้รับโล่ประกาศเกียรติคุณ ESCO Project Awards จากงานสัมมนา Thailand ESCO Fair

  • สมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย สมาคมบริษัทจัดการพลังงานไทย ก่อตั้งเพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มระหว่างผู้ประกอบการธุรกิจ ESCO อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อก่อให้เกิการพัฒนาศักยภาพของสมาชิกสมาคม และให้ความมั่นใจในประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ประกอบการที่จะได้รับจากการใช้บริการของ ESCO

  • แนวทางการจัดทำระบบรับรองการดำเนินงานของบริษัทจัดการพลังงานไทย (ESCO)

  • ¤é¹ËÒ¼ÙéãËéºÃÔ¡ÒÃ
    • »¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ
  • à¢éÒÊÙèÃкºÊÁÒªÔ¡
  • µéͧ¡ÒÃÊÁѤÃÊÁÒªÔ¡ãËÁè!

    ÊÁÒ¢Ô¡à¡èÒÅ×ÁÃËÑʼèÒ¹

  •  

ผลงานที่เคยดำเนินงาน


รายชื่อสถานประกอบการที่ต้องการให้ ESCO เข้าไปดำเนินการการอนุรักษ์พลังงานให้มีดังต่อไปนี้
หากท่านต้องการติดต่อกับสถานประกอบการ ติดต่อได้ที่ ESCO Information Center
โทรศัพท์ : 023451250-51 email : admin@thaiesco.org

ข้อมูลของสถานประกอบการที่ดำเนินการให้
ชื่อสถานประกอบการ บริษัท กรุงเทพ โปรดิ๊วส จำกัด (มหาชน)
ที่ตั้ง ที่สามารถติดต่อได้  150 หมู่ 7 ต.ตาลเดี่ยว อ.แก่งคอย จ.สระบุรี 18110
ลักษณะของสถานประกอบการ
โรงงาน
หัวข้อมาตรการ
ระบบผลิตไฟฟ้าและพลังงานความร้อนร่วม
ชื่อมาตรการ 1. Co-generation ระบบโคเจนเนอเรชั่น เป็นระบบการผลิตพลังงานร่วมที่ได้ทั้งพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน จากแหล่งผลิตแหล่งเดียว เหมาะสมกับโรงงานที่มีการใช้ทั้งไฟฟ้าและความร้อน นอกจากจะช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าและค่าเชื้อเพลิงสำหรับเครื่องผลิตความร้อน แล้วยังช่วยเพิ่มเสถียรภาพไฟฟ้า ได้อีกด้วย เนื่องจากไฟฟ้าที่ผลิตได้มีคุณภาพค่อนข้างสม่ำเสมอ ไม่มีสภาวะไฟตก ไฟกระชาก หรือไฟดับ ซึ่งเคยก่อปัญหาให้แก่เครื่องจักรในโรงงานอยู่เสมอ เป็นการลดค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษาเครื่องจักรในกระบวนการผลิตต่างๆ ด้วย 2. Motor Optimization มอเตอร์ไฟฟ้าส่วนใหญ่ถูกออกแบบมาให้สามารถรับโหลดมาก ๆ ซึ่งเกิดขึ้นเพียงช่วงระยะเวลาสั้น ๆ เท่านั้น พลังงานที่นำไปใช้สามารถถูกลดลงให้เหมาะกับการทำงานได้โดยการติดตั้งเครื่องควบคุมการทำงานของมอเตอร์ซึ่งใช้ Microprocessor ในการควบคุมให้มอเตอร์ทำงานได้ผลดีที่สุดออกมา อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงของโหลดของมอเตอร์ได้ภายในช่วงเวลาสั้นๆ ในระดับส่วนของ 1 วินาที ผลก็คือ มอเตอร์จะใช้กำลังไฟเท่ากับที่ต้องการใช้งานจริง เป็นการตัดการใช้พลังงานที่ไม่จำเป็นที่สูญเสียไปในรูปของพลังงานความร้อนและการสั่นสะเทือน นอกจากนี้ยังสามารถควบคุมการทำงานด้านอื่นๆ เช่น การทำ soft start ซึ่งจะช่วยให้มอเตอร์มีสภาพการทำงานที่ดีขึ้น และช่วยยืดอายุการใช้งานของมอเตอร์ 3. Lighting Control and Low Loss Ballast Lighting Control System ใช้หลักการลดค่าแรงดัน input หลังจากการจุดหลอดแล้วประมาณ 5-6 นาที ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ไม่มีความจำเป็นต้องใช้แรงดันสูงเท่ากับช่วงจุดหลอด แต่อาจมีผลกระทบกับความสว่างบ้างเล็กน้อยไม่เกิน 15 % ซึ่งไม่มีผลต่อการมองเห็น ส่วน Low Loss Ballast สามารถลดความสูญเสียพลังงานไปได้จาก 10 W ลงเหลือเพียง 6 W ดังนั้นการติดตั้ง Lighting Control System ควบคู่กับการติดตั้ง Low Loss Ballast ช่วยลดการใช้พลังงานได้ถึง 30 % และยังช่วยเพิ่มอายุการใช้งานอีกด้วย
ปริมาณการใช้พลังงาน
พลังงานไฟฟ้า
0  บาท/ปี
กำลังไฟฟ้าสูงสุด
63470000  KW
ก๊าซธรรมชาติ 184000  ลิตร/ปี
งบประมาณและผลตอบแทน (ต้องสอดคล้องกับมาตรการ)
ลงทุน
188,000,000  บาท
ผลการประหยัด
47,000,000  บาท/ปี
ระยะเวลาคืนทุน
4  ปี
แหล่งทุน
ธนาคารไทยธนาคาร
ภาพประกอบ มาตรการ
สถานะของโครงการ เสร็จเรียบร้อยแล้ว

 

 

 

 

Top